Tigger Sound
สังคมออนไลน์คุณภาพของคนรักเครื่องเสียง
ทดสอบเสียง HK1.1 By Tiggersound https://www.facebook.com/tiggersound/videos/10218510874389162

เรื่องการกลับเฟส ขั้วลำโพง

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ Montrevej1

  • ท่านผู้ชม
  • **
    • กระทู้: 30
  • ไปเที่ยวกัน นะ นะ
ถามผู้รู้หน่อยครับว่าถ้าเราไม่กลับเฟสข้างใดข้างหนึ่งของลำโพงแต่เราใช้ดีเรย์แทนได้ไหมครับ...ขอบคุณครับ
ไม่เคยลองเหมือนกันครับ ตามหลักการแล้วน่าจะได้นะครับ
แต่
ในกรณีที่ลำโพงมีซ้ายและขวข้างละ1ตู้ ด้านใดด้านหนึ่งกลับเฟส แล้วเราเอาดีเลย์ใส่เพื่อให้เสียงที่ออกมาเท่ากัน เราต้องไปตั้งในครอสที่เป็นดิจิตอล หรือเอาดีเลย์ทาม์มาใส่ จะเป็นการเพิ่มงานหรือเปล่าครับ ถ้าลำโพงมีข้างละ2ตู้ ถ้ากลับ2ตู้ก็เหมือนด้านบนแต่ถ้ากลับตู้เดียว เพิ่มเครื่องเข้าไปอีก ถ้ามีมากกว่าข้างละ4ตู้ ....ไม่อยากคิด
แต่ดีนะครับเป็นการคิดที่นอกกรอบ ผมก็ไม่เคยนึกถึงซะด้วย ท่านอื่นๆมีความเห็นอย่างไรมั่งครับ
สรพงษ์ มนตรีเวท (อ๊อต) 52/124 หมู่บ้านโชคชัยวิลเวจ 4 ซ.9 หมู่ 5 หนองปรือ บางละมุง ชลบุรี 20150 โทร 088 615 7799 (ture)


ออฟไลน์ วิวซาวด์ลำพูน

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 277
  • อยู่ไปตามน้ำทำไปตามตั๋ว น้ำเบียงใดดอกบัวเปียงฮั้น
แล้วถ้าใช้ตู้ W  ข้างละ 4 ตู้  ต้องกลับสายลำโพง  ขั้ว + ไปใส่ -      แล้ว - มาใส่ +ใช่ไหมครับ 
กลับที่สายจากแอมส์ไปหาตู้ลำโพงแทนได้ไหมครับ ส่วนในตู้ต่อเหมือนเดิม smiley4
W.Sound.Lamphun...*** โทร  080-6791519  วันทูร์คอล์ 


ออฟไลน์ montrevej

  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 802
  • ไปเที่ยวกัน นะ นะ
    • http://s690.photobucket.com/user/montrevej/profile/
การสลับสาย + - นั้นไม่จำเป็นต้องแกะในตู้หรอกครับ กลับที่หลังพาว์เวอร์ได้เลยบ่มีปัญหา
แต่ w ข้างละ 4 ตู้รวมเป็น 8 ตู้ ไม่มีเครื่องเช็กนั้นยากนะครับ ดูเอาก็ได้ เสียเวลาหน่อย
ลองต่อทีละดอกเลยครับ ต่อเฟสถูกเสียงดังมากขึ้น ต่อเฟสผิดเสียงหายลงเห็นๆ ต่อสายก่อนก็ได้ครับ แล้วหมุนวอลลุ่มทีละข้าง หมุนด้านซ้ายแล้วหมุนด้านขวา ถ้าเปิดพร้อมกันแล้วเสียงไม่หายก็ถูกต้อง แต่วิธีการนี้จะเสียเวลาหน่อยนะครับ
อย่างที่บอกครับ เครื่องเสียงเครื่องปรุง รวมราคาก็หลายบาทอยู่ ลงทุนอีกนิดหาเครื่องเช็กเฟสมาใช้ จะทำงานง่ายขึ้นเยอะครับ
นาย สรพงษ์ มนตรีเวท เลขที่ 158/144 หมู่ 10 หมู่บ้านฉัตรแก้ว 1 ตำบล หนองปรือ อำเภอ บางละมุง จังหวัด ชลบุรี 20150 TEL : 088-615-7799


ออฟไลน์ peerawit

  • ร้านนภาเครื่องเขียน
  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 787
แล้วถ้าใช้ตู้ W  ข้างละ 4 ตู้  ต้องกลับสายลำโพง  ขั้ว + ไปใส่ -      แล้ว - มาใส่ +ใช่ไหมครับ 
กลับที่สายจากแอมส์ไปหาตู้ลำโพงแทนได้ไหมครับ ส่วนในตู้ต่อเหมือนเดิม smiley4
กดกลับเฟสที่ครอส   ช่อง LOW  ทั้งสองข้างดีกว่าครับ
นาย พีรวิชญ์   ศรีวริยกุล เลขที่ 179  หมู่ 1  ตำบล ไชยราช อำเภอ บางสะพานน้อย  จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์  77170  TEL 089-501-8275  ธ.กรุงเทพ  490-0xxx01-6


ออฟไลน์ hs5icj

  • sert system
  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 267
ลองถามต่อ ถ้าตั้งลำโพงทางด้านข้าง ซ้ายมือและขวามือหันหน้าลำโพงเข้าหาหูเราตรงๆ  จะต่อลำโพงแบบไหนให้เสียงแรงที่สุด  กลับเฟส  ตรงเฟส หรือยังงัย   สัญญาณที่ป้อนเข้าลำโพงมาจากแหล่งเดียวกัน โมโน สนุกสนุก 
นาย ประเสริฐ  พิมดี  เลขที่ 43 หมู่ 7 บ้าน ท่ามะเดื่อ ตำบล ท่ากระเสริม อำเภอ น้ำพอง จังหวัด ขอนแก่น 40140  TEL : 081-117-4569


ออฟไลน์ max_medkku

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 151
ลองถามต่อ ถ้าตั้งลำโพงทางด้านข้าง ซ้ายมือและขวามือหันหน้าลำโพงเข้าหาหูเราตรงๆ  จะต่อลำโพงแบบไหนให้เสียงแรงที่สุด  กลับเฟส  ตรงเฟส หรือยังงัย   สัญญาณที่ป้อนเข้าลำโพงมาจากแหล่งเดียวกัน โมโน สนุกสนุก 
ตอบครับ เฟส ตรงกัน เฟสเร่มต้น 0 องศา แรงที่สุดครับ
อัษฎาวุธ สอนพรหม
086-8624610


ออฟไลน์ max_medkku

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 151
ความรู้เรื่องของของphase&polarity

phase คือตำแหน่งบนคลื่นนั้นๆ เช่น 0 องศา 90องศา



รูปนี้แสดงตำแหน่งต่างๆ(Phase)ของคลื่น สัมพันธ์กับเวลา



จากรูปแสดง ความหนาแน่นของ อนุภาคอากาศ ตามตำแหน่งของคลื่น
สังเกตว่า ตั้งแต่ เฟส 0-180 อนุภาคอากาศจะหนาแน่นกว่าตำแหน่ง 180-360 องศา
ดังนั้นถ้า เฟสเริ่มต้นของแหล่งกำเนิดเสียง(ลำโพง) เป็น 180 องศา เราจะได้ยินเบากว่า เฟสเริ่มต้นที่ 0 องศา

เรื่องของเฟสที่เกี่ยวกับ งาน PA

1 คำว่าเฟส ที่ sound EN ชอบเรียกๆกัน ที่จริงควรใช้คำว่า Polarity จึงจะถูก  (เอาเป็นว่าใช้คำว่าเฟสหรือ polarityก็ได้)
2 อะไรก็ตามที่มีการกลับทิศทางของสัญญาณในทางเดินของสัญญาณถือว่า กลับเฟส (Inverse phase or inverse polarity) ไม่ว่าจะเป็นการต่อสายสัญญาณ สายลำโพง ตำแหน่งไมค์ หรือ การวางตำแหน่งลำโพงกลับทิศ
3 มี สองคำที่ต้องทำความเข้าใจคือ out of phase กับ inverted phase
   Out of phase หรือ เฟสไม่ตรงกัน กล่าวคือ  แหล่งกำเนิดเสียง(ลำโพง)อันใดอันหนึ่ง กลับเฟส (เฟสเริ่มต้นต่างกัน 180 ํ) ทำให้เกิด เสียงเบสหาย  จากคุณสมบัติการแทรกสอดของคลื่น (ไม่ได้หายทั้งหมดแต่เบาลง) เช่น การต่อขั้วสายลำโพงข้างใดข้างหนึ่งสลับขั้ว วิธีแก้คือ กดบุ่ม reverse phase ของ x-over ข้างนั้น หรืือ สลับขั้วที่ลำโพงหรือที่ขั้วพาวเวอร์แอมป์คืน
   Inverted phase คือ แหล่งกำเนิดเสียงทั้งสองกลับเฟส(เฟสเริ่มต้นของทั้งสองไม่ได้เริ่มที่ 0 องศา อาจเป็น 90 ํ 180 ํ 270 ํ ก็ได้) สิ่งที่เกิดขึ้นคือ  loss of low nd frequency (loss of Punch)คือ เสียงความถี่เบสช่วงต่ำๆหายย่าน 30-40Hz สังเกตได้จากปกติถ้าเฟสตรงกันโดยเฟสเริ่มเป็น 0 องศา เสียงกลอง kick เวลาเหยียบเสียงที่ได้จะจุกอก อันนี้เรียกว่า Punch ถ้าinverted phase เสียงกระเดื่องจะไม่จุกอก ตัวอย่างของการกระทำที่ทำให้เกิด inverted phase  เช่น

4 Inverted phase ที่เกิดจากไมค์ เกิดจากการที่ลมจากการกระแทก เดินทางในทิศทางออกจากDiaphragm ของไมค์ยกตัวอย่างเช่น snare tom เราตีกระทบหน้ากลอง ลมมันจะออกที่ก้นกลอง เวลาเราเอาไมค์ไปจ่อเราเอาไปจ่อบนหน้ากลอง ดังนั้น เฟสที่ได้จะเป็น เฟสกลับ(180องศา) ถ้าดูจาก oscilloscope จะเห็นphase เริ่มต้นเป็นเฟสกลับ(เฟส180องศา)  แต่ถ้าเป็นไมค์กระเดื่อง เราเหยียบกระเดื่องลมมันจะพุ่งเข้า ไมค์ตรงๆ อันนี้ได้ เฟสตรงกัน เฟสเริ่มเป็น 0 องศา

 4.1ถ้าเราวางไมค์จ่อตู้แอมป์กีต้าร์ โดยห้อยหัวไมค์ลงมารับเสียง เฟสที่ไ้ด้จะ เป็น 90 องศา (เสียงจากแหล่งกำเนิด ตั้งฉากกับ diaphragm ไมค์) อันนี้ไม่ถึงกับ inverted phase แต่เสียง punch มันจะหายไปเล็กน้อย ดังนั้นความเชื่อของการวางไมค์แบบนี้เป็นความเชื่อที่ผิด

ทั้ง 2 ตัวอย่างที่กล่าวมา เรียกว่า Acoustic phase inversion

       การแก้ไข Acoustic phase inversion เราแก้ไขโดย การ วางตำแหน่ง ไมค์ ให้หัวdiaphragm ตรงกับ ทิศทางที่มีลมออกมา เช่น snare หรือ tom เราก็เอาไมค์ไปจ่อ ก้นกลองซะ แต่ว่าคงไม่มีใครทำอย่างนั้น ง่ายๆ อีกวิธีคือ กด reverse phase ที่ channel mixer ของ snare หรือ tom นั้นๆ

ลองทดลองดูนะครับ เสียง snare เวลากดปุ่ม reverse เสียงที่ได้จะหนาและแน่น ได้ใจมาก

 4.2 การกลับขั้วสายสัญญาณ (line) เช่น สลับ + เป็น - กรณีสาย balance หรือ การกลับขั้ว สายลำโพง + เป็น - - เป็น + เรียกว่า Electric phase inversion จะทำให้เกิดการกลับเฟส เป็น เฟส 180 องศา
เช่น การต่อสาย line balance XLR ต่อ 3 เป็น +   2 เป็น -  ไม่ว่าจะเป็น สายไมค์ สาย พ่วง mixer ไป EQ  หรือ EQ ไป X-over หรือ x-over ไป power amp  

      การแก้ไข Electric phase inversion ทำได้โดย การ ต่อ สาย +- ให้ถูกต้อง หรือ กด ปุ่ม reverse phase ที่ channel นั้นๆ ถ้ามี

***การแก้ acoustic phase invert สามารถใช้ electric phase invert แก้ไขได้

การแทรกสอดของคลื่น




รูปนี้แสดงการแทรกสอดของคลื่น

ถ้าคลื่นจาก 2 แหล่งกำเนิด เฟสตรงกัน มาพบกัน ก็จะเสริมกัน ความสูงของคลื่น(Amplitude) หรือความดังก็จะเพิ่มขึ้น เรียก in phase

ถ้าคลื่น 2 แหล่งกำเนิด เฟสเริ่มไม่ตรงกัน และเป็นเฟสตรงข้าม เช่น 180 กับ 0 องศา มารวมกัน คลื่นจะหักล้างกัน เสียงจะเบาลง เรียกว่า out of phase

ข้อควรคิด
จากรูปจะเห็นว่า ถ้า out of phase คลื่นจะหักล้างกันสมบูรณ์ ไม่น่าจะได้ยินเสียงเลยในจุดที่มีการหักล้างของคลื่นตามทฤษฎี  แต่ในความเป็นจริงนั้น คลื่นเสียงเป็น Complex wave ไม่ได้มีเพียงความถี่เดียว เช่น เสียง กระเดื่อง snare กีตาร์ เบส  หรือแม้แต่ คน 2 คน เปล่งเสียง ตัวโน๊ตเดียวกัน ความถี่เท่ากัน แต่ทำไมเสียงที่ได้ยินจึงไม่เหมือนกัน อันนี้เขาเรียกว่า คุณภาพของเสียง ซึ่งเครื่องดนตรีแต่ละชิ้น คนแต่ละคน มี Harmonics ไม่เท่ากัน เสียงจึงแตกต่างกัน
ดังนั้น ถึงแม้บางความถี่ถูกหักล้างด้วยปรากฏการณ์ การแทรกสอด ก็ยังเหลืออีกหลายความถี่(harmonics) ที่ยังไม่ถูกหักล้าง ระดับความดังเสียงบริเวณที่มีการแทรกสอดแบบหักล้าง จึงได้ยินเสียงบางความถี่ที่เบาลง


 
รูปแสดง Harmonics ของคลื่น




รูปแสดง ความถี่มูลฐาน(fundamental frequency) และ harmonics ของเครื่องดนตรี



จากรูปแสดงการแทรกสอดของคลื่่น จาก แหล่งกำเนิดคลื่นอาพันธ์ 2 แหล่ง (เฟสตรงกัน)

เส้นทึบ เป็น สันคลื่น เส้นประเป็น ท้องคลื่น

เส้นทึบรวมกับเส้นทึบ หรือ เส้นประรวมกับเส้นประ เฟสจะเสริมกัน เสียงจะดังเพิ่มขึ้น จุดที่คลื่นเสริมกัน จะแทนที่ด้วยวงกลมสีดำ

เส้นประกับเส้นทึบรวมกัน เฟสจะหักล้างกัน เสียงจะเบาลง จุดที่คลื่นหักล้างกันนี้ จะใช้รูปวงกลมสีขาว

ดังนั้นจะเห็นว่าถ้าเรา mix เสียงที่จุด A เสียงที่ได้ยินจะดัง
แต่ถ้าเดินถัดมาที่จุด B ซึ่งตรงกับตำแหน่งลำโพง แต่เป็นตำแหน่งที่คลื่นเสียงหักล้างกันพอดี เสียงที่ได้ยินจึงเบาลง



รูปแสดง การกระจายของ SPL ของ ความถี่ 125 Hz bandwidth=1/1 oct



รูปแสดง การกระจายของ SPL ของ ความถี่ 63 Hz bandwidth=1/1 oct




รูปแสดงการแทรกสอดของ ความถี่ 2,000 Hz

จากตัวอย่างข้างต้นจะเห็นได้ว่า ที่่ย่านความถี่ที่แตกต่างกัน การแทรกสอด ก็ไม่เหมือนกัน เนื่องจากความยาวคลื่นแปรผกผันกับความถี่
ถ้าความถี่น้อย ความยาวคลื่นจะมาก การแทรกสอดของย่านความถี่ต่ำ เช่น เสียงเบส/กระเดื่องจึง มีโอกาสเกิดการแทรกสอด ได้มากและเป็นบริเวณกว้าง

จึงอธิบายได้ว่า ตำแหน่งที่เราได้ยินแตกต่างกัน ทำไมเบสไม่ตึ๊บ ทั้งที่อยู่ตรงกับลำโพงพอดี
ถ้าอยากให้ตึ๊บๆ ก็ให้ฟังตรงกลางหรือ จองที่ใกล้หน้าลำโพง 5555
อัษฎาวุธ สอนพรหม
086-8624610


ออฟไลน์ max_medkku

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 151
การต่อลำโพงสลับขั้วแล้วดังดีขึ้น
                                                          
สำหรับท่านที่ไม่รู้  ไม่เคยลอง แล้วอยากจะลอง ทำดูบ้าง
                                                                    
ความรู้ที่ขัดต่อความรู้สึก ถ้าไม่ลองไม่รู้ครับ
                                                                  
เคล็ดลับ...ที่ไม่ได้ลับ บางท่านอาจเคยลองทำแล้วก็เป็นได้ครับ

ก่อนอื่นต้องถามท่านว่า เคยเจอปัญหานี้ไหม  
               ใช้ตู้ลำโพงดีแสนดี แต่เสียงออกมาแมวไม่กัดเสียงที่ออกมาด้านหน้าตู้ลำโพงดังทะแม่งๆ ไม่หนักแน่นเร้าใจ ในทางกลับกัน เสียงที่ออกไปด้านหลังตู้ลำโพง กลับดังดี หนักแน่นกว่าด้านหน้าตู้ลำโพงเสียอีก (ความเชื่อส่วนบุคคลโปรดใช้วิจารณญาณ)

บทความนี้...ใช้เฉพาะที่เท่านั้น
1.ใช้เฉพาะ ตรูดสู้ เอ๊ยย...สูตรตู้ ลำโพง ดับเบิ้ลยู (ดับบลิว)
2.ใช้เฉพาะ สูตรตู้ ลำโพง สูตรเทอร์โบ
3.หรือ ฝังดอกลำโพงในตู้ ที่หันปากดอก ไปยังด้านหลังตู้ (พอนึกภาพออกไหม)

ขั้นตอนการทำดังนี้ครับ
1.ต่อขั้วสายลำโพงจากเพาเวอร์แอมป์ไปยังลำโพงปกติเหมือนที่ท่านเคยทำมา ขั้วแอมป์(+)ก็ไปเข้าขั้วลำโพง(+)  และ ขั้วแอมป์(-)ก็ไปเข้าขั้วลำโพง(-) ทุกตัว อย่างที่ทุกท่านต่อตามปกติ  ทุกๆตัว ทั้งชั้นเสียงแหลม  กลาง และ เบส
2.เมื่อได้ตามข้อ 1 ดูข้อ 3 ต่อเลยครับ
3.ให้ท่านถอดสายที่  เฉพาะแอมป์ขยายเสียงเบส ฝั่งใดฝั่งหนึ่ง  จะถอดที่แอมป์ หรือที่ตู้ลำโพงก็ได้ ให้เลือกถอด ที่จุดต่อจุดเดียวทั้งขั้วบวกลบ ทั้ง2 ด้าน ซ้ายและขวา
4.จากนั้นให้ท่านสลับขั้ว  จากเอาท์พุทแอมป์ ขั้วบวก ให้เข้าลำโพงขั้วลบ  
5.จากนั้นให้ท่านสลับขั้ว  จากเอาท์พุทแอมป์ ขั้วลบ ให้เข้าลำโพงขั้วบวก
6.ทำเหมือนกันทั้งซ้ายทั้งขวา ระวังอย่าให้สายลำโพงบวกและลบแตะกันนะครับ ไม่งั้นเพาเวอร์แอมป์ของท่านได้กลับบ้านเก่าแน่ๆ หากไม่มีระบบป้องกันที่ดีพอ
7.การสลับขั้วลำโพง ไม่ก่อให้เกิดอันตราย ต่อลำโพงและ เพาเวอร์แอมป์ใดๆทั้งสิ้น เพียงแต่เสียงจะมีมิติ ที่แตกต่างไปเท่านั้นครับ
8.ขอย้ำ เฉพาะ แอมป์ตู้เบส (ซัพวู้ปเฟอร์) และลำโพงเบสเท่านั้น  ส่วนชุดของเสียงกลางและชุดของเสียงแหลม ต่อตามปกติ ไม่ต้องสลับขั้วใดๆทั้งสิ้น
ดังรูปครับ  ขอย้ำ...ใช้ทดสอบกับ สูตรตู้ลำโพง ดับบลิว และ เทอร์โบเท่านั้น ดอกลำโพงที่หันหน้าออกด้านนอกไม่ต้องลอง


ต่อลำโพงแบบปกติ ( Normal connector )


ต่อลำโพงแบบสลับขั้ว ( Unnormal connector )

ผลข้างเคียงที่จะได้รับ
ได้เสียงที่หนักแน่นขึ้นแบบเต็มๆ ฟังดูแล้วรู้สึกโปร่งขึ้น อย่างเห็นได้ชัดครับ

คำถามที่พบบ่อย
1.แล้วทำเช่นนี้ลำโพงไม่เสียหายหรือ
ตอบ :ไม่เสียหายครับ ไม่เกี่ยว ที่จะทำให้เครื่องขยายเสียง หรือ ลำโพงเสียหาย เพราะเราไม่ได้ต่อให้ขั้วลำโพงทั้ง 2 ขั้วช็อตกัน
2.แล้ว ลำโพงไม่ดูดว้อยซ์เข้าด้านใน แม่สนามเหล็กหรือ(ถามแบบชาวบ้านสงสัย)
ตอบ :ไม่ครับ เราไม่สามารถกำหนดได้ แต่เราสามารถรับรู้ได้ด้วยการฟังหรือได้ยิน เพราะคลื่นเสียงที่ออกจากเครื่องขยายเสียง ไปยังลำโพง เป็นคลื่นไฟฟ้าแบบกระแสสลับACโวลท์(Alternating current) ที่มาในรูปของคลื่นเสียงที่มีความถี่ต่างกัน ไม่ใช่ไฟดีซีโวลท์ (direct currect)ซึ่งทำให้ก่อเกิดความเสียหาย ถ้าปริมาณไฟดีซี ไหลผ่านขดลวดทองแดงที่ว้อยซ์ลำโพงมากๆ ทำให้ช็อตรอบ และเครื่องขยายเสียงก็จะเสียหายได้
3.จะได้ผลจริงหรือถ้าต่อสลับขั้ว
ตอบ : จริงครับ เพราะลองกันมาหลายคนแล้ว และได้ลองเองด้วย ได้ผลอย่างเห็นได้ชัด แต่ได้เฉพาะ สูตรตู้ลำโพง ที่ใส่ดอกลำโพง หันหน้าดอกลำโพงไปด้านหลัง หรือดอกลำโพงที่กึ่งคว่ำเฉลียงหันหน้าดอกออกไปด้านหลัง อย่างเช่น ลำโพงกลางแจ้ง สูตรตู้เทอร์โบ และ ดับเบิ้ลยู (ดับบลิว) จะได้ผลชัดเจน  แต่ถ้าเป็นตู้ลำโพงสูตรอื่น ที่หันดอกลำโพงด้านหน้า จะไม่ได้ผล แถมเสียงจะบางลงไปอีกตะหาก
4.ทำไมตู้ลำโพง สูตรนี้ถึงเป็นเช่นนั้น
ตอบ : ในทางทฤษฎี ก็พอรู้งูปลาๆครับลืมไปหมดแล้ว แต่ในทางปฏิบัติ คิดว่า  หน้าจะเป็นเพราะสูตรตู้ลำโพง ที่หันหน้าดอกไม่เหมือนกัน ระหว่าง ตู้ลำโพงเสียงกลาง และเสียงแหลม หันหน้าดอกออกมา ซึ่งมีความไวแรมด้าของคลื่นเสียงมากกว่า ซึ่งหูคนเราสามารถสัมผัสหรือได้ยินก่อน ส่วนสูตรตู้ลำโพงหน้าปิด ที่หันหน้าดอกไปด้านหลังนั้น
ย่อมเกิดการสูญเสีย หรือเกิดพลังงานการสะสมของคลื่นเสียงนั้น ก่อนที่จะปล่อยแรมด้าของคลื่นเสียงออกมาผ่านลิ้นหรือช่องระบายอากาศ ของสูตรตู้ลำโพงนั้นๆ จึงเกิดการหักเห ของคลื่นเสียง จึงทำให้แรมด้าของเสียงตัดกัน ระหว่างดอกลำโพงที่หันหน้าออกครับขอสรุปได้ว่า ไปลองต่อใช้กันครับ ถ้าใครมีข้ออธิบายที่ดีกว่านี้ โปรดชี้แนะ....    

ผม copy บทความนี้มาจากเว็ปแห่งหนึ่งนะครับ ขอขอบคุณเจ้าของบทความด้วยน่ะครับ
ส่วนที่ถามว่าใช้ไปนานๆจะมีผลเสียอย่างไรหรือเปล่าผมว่าไม่น่าจะมีปัญหาน่ะครับ

ตามที่ท่านทำมานั้นถูกต้องแล้วครับ
อธิบายตามหลักของคลื่น
เวลาที่ลำโพงมันหันก้นออกมานั้น เฟสเริ่มต้นที่เราได้ยิน จะเป็นเฟส 180 องศา หรือเฟสกลับ (เฟส 0 ออกที่หน้าดอกลำโพง เสียงเฟส 0 จะฟังได้ที่ ก้ยลำโพง) เสียงที่ได้ยินมันจะบางๆ ไม่ค่อยจุกอก หากเรากลับที่ขั้วลำโพง หรือ กด กลับเฟสที่ crossover output ย่าน low จะทำให้ได้เฟสเริ่มต้นเป็นเฟส 0 องศา เสียงจะแน่นขึ้นเนื่องจากเป็นเฟสที่มีอนุภาคของอากาศอัดกันหนาแน่น
อัษฎาวุธ สอนพรหม
086-8624610


ออฟไลน์ numza

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 184
ผมได้ลองต่อลำโพง 4 ดอกดูครับ

ลำโพงดอกที่ 1 กับ 2 ต่อ +- ดังปกติครับ 
พอต่อเพิ่มอีก ดอกที่3 กับดอกที่ 4 ต้องต่อกลับขั้วกัน จาก +เป็น- จาก - เป็น + ทั้งสองดอก ถึงจะดังตึบๆ  ถ้าไม่กลับจะดังเป๊ก ๆ ครับ

หมายเหตุ ดอกที่ 1 กับ 2 เป็น ดอกที่หันหน้าออก ฟูเร้นปกติ
            ดอกที่ 3 กับ 4 เป็นดอกคว่ำหน้าลงครับผม
            พาวเวอร์แอมป์คราสดีครับ
            ดอกลำโพงผ่านการซ่อมมาแล้วอาจมีการเปลี่ยนว้อยมาแล้วอาจสลับขั้ว + - กันได้ ช่างอาจใส่ขั้วมาผิด


            ผมลองต่อทีละตู้แล้วเลยต้องต่อแบบนี้
ไม่รู้ของท่านอื่นเป็นอย่าไรบ้างครับ  ที่ต่อหลายสูตร รวมกัน

         
บุญธรรม บุญธิมา 249 ม.2 ต.แม่ไร่ อ.แม่จัน จ.เชียงราย 57130<br />


ออฟไลน์ Master Art ★

  • มือเบส
  • ***
    • กระทู้: 83
เวลาระบบมีปัญหาเรื่องของเฟสต้องพยามหาสาเหตุให้เจอแล้วแก้ที่ต้นเหตุครับ. ถ้ามาแก้ที่ปลายเหตุโดยการกลับขั้วที่หลังแอ็มป์หรือที่ลำโพง
จะกลายเป็นทำผิดให้เป็นถูก แล้วส่วนที่ถูกจะกลายเป็นผิดยุ่งเลยครับ (ในกรณีที่ลำโพงถูกอยู่แล้ว)
นายศักดิ์สิทธิ์  แสงพา  0885644689
รร อุดรพิชัยรักษ์พิทยา  042243231 อ เมือง จ อุดรธานี 41000


ออฟไลน์ verat

  • วิรัช วิภาวดี
  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 863
  • สักวันต้องเป็นรากแก้ว
    • วิภาวดีซิตี้เรดิโอ106 MHz
การต่อลำโพงสลับขั้วแล้วดังดีขึ้น
                                                          
สำหรับท่านที่ไม่รู้  ไม่เคยลอง แล้วอยากจะลอง ทำดูบ้าง
                                                                    
ความรู้ที่ขัดต่อความรู้สึก ถ้าไม่ลองไม่รู้ครับ
                                                                  
เคล็ดลับ...ที่ไม่ได้ลับ บางท่านอาจเคยลองทำแล้วก็เป็นได้ครับ

ก่อนอื่นต้องถามท่านว่า เคยเจอปัญหานี้ไหม  
               ใช้ตู้ลำโพงดีแสนดี แต่เสียงออกมาแมวไม่กัดเสียงที่ออกมาด้านหน้าตู้ลำโพงดังทะแม่งๆ ไม่หนักแน่นเร้าใจ ในทางกลับกัน เสียงที่ออกไปด้านหลังตู้ลำโพง กลับดังดี หนักแน่นกว่าด้านหน้าตู้ลำโพงเสียอีก (ความเชื่อส่วนบุคคลโปรดใช้วิจารณญาณ)

บทความนี้...ใช้เฉพาะที่เท่านั้น
1.ใช้เฉพาะ ตรูดสู้ เอ๊ยย...สูตรตู้ ลำโพง ดับเบิ้ลยู (ดับบลิว)
2.ใช้เฉพาะ สูตรตู้ ลำโพง สูตรเทอร์โบ
3.หรือ ฝังดอกลำโพงในตู้ ที่หันปากดอก ไปยังด้านหลังตู้ (พอนึกภาพออกไหม)

ขั้นตอนการทำดังนี้ครับ
1.ต่อขั้วสายลำโพงจากเพาเวอร์แอมป์ไปยังลำโพงปกติเหมือนที่ท่านเคยทำมา ขั้วแอมป์(+)ก็ไปเข้าขั้วลำโพง(+)  และ ขั้วแอมป์(-)ก็ไปเข้าขั้วลำโพง(-) ทุกตัว อย่างที่ทุกท่านต่อตามปกติ  ทุกๆตัว ทั้งชั้นเสียงแหลม  กลาง และ เบส
2.เมื่อได้ตามข้อ 1 ดูข้อ 3 ต่อเลยครับ
3.ให้ท่านถอดสายที่  เฉพาะแอมป์ขยายเสียงเบส ฝั่งใดฝั่งหนึ่ง  จะถอดที่แอมป์ หรือที่ตู้ลำโพงก็ได้ ให้เลือกถอด ที่จุดต่อจุดเดียวทั้งขั้วบวกลบ ทั้ง2 ด้าน ซ้ายและขวา
4.จากนั้นให้ท่านสลับขั้ว  จากเอาท์พุทแอมป์ ขั้วบวก ให้เข้าลำโพงขั้วลบ  
5.จากนั้นให้ท่านสลับขั้ว  จากเอาท์พุทแอมป์ ขั้วลบ ให้เข้าลำโพงขั้วบวก
6.ทำเหมือนกันทั้งซ้ายทั้งขวา ระวังอย่าให้สายลำโพงบวกและลบแตะกันนะครับ ไม่งั้นเพาเวอร์แอมป์ของท่านได้กลับบ้านเก่าแน่ๆ หากไม่มีระบบป้องกันที่ดีพอ
7.การสลับขั้วลำโพง ไม่ก่อให้เกิดอันตราย ต่อลำโพงและ เพาเวอร์แอมป์ใดๆทั้งสิ้น เพียงแต่เสียงจะมีมิติ ที่แตกต่างไปเท่านั้นครับ
8.ขอย้ำ เฉพาะ แอมป์ตู้เบส (ซัพวู้ปเฟอร์) และลำโพงเบสเท่านั้น  ส่วนชุดของเสียงกลางและชุดของเสียงแหลม ต่อตามปกติ ไม่ต้องสลับขั้วใดๆทั้งสิ้น
ดังรูปครับ  ขอย้ำ...ใช้ทดสอบกับ สูตรตู้ลำโพง ดับบลิว และ เทอร์โบเท่านั้น ดอกลำโพงที่หันหน้าออกด้านนอกไม่ต้องลอง


ต่อลำโพงแบบปกติ ( Normal connector )


ต่อลำโพงแบบสลับขั้ว ( Unnormal connector )

ผลข้างเคียงที่จะได้รับ
ได้เสียงที่หนักแน่นขึ้นแบบเต็มๆ ฟังดูแล้วรู้สึกโปร่งขึ้น อย่างเห็นได้ชัดครับ

คำถามที่พบบ่อย
1.แล้วทำเช่นนี้ลำโพงไม่เสียหายหรือ
ตอบ :ไม่เสียหายครับ ไม่เกี่ยว ที่จะทำให้เครื่องขยายเสียง หรือ ลำโพงเสียหาย เพราะเราไม่ได้ต่อให้ขั้วลำโพงทั้ง 2 ขั้วช็อตกัน
2.แล้ว ลำโพงไม่ดูดว้อยซ์เข้าด้านใน แม่สนามเหล็กหรือ(ถามแบบชาวบ้านสงสัย)
ตอบ :ไม่ครับ เราไม่สามารถกำหนดได้ แต่เราสามารถรับรู้ได้ด้วยการฟังหรือได้ยิน เพราะคลื่นเสียงที่ออกจากเครื่องขยายเสียง ไปยังลำโพง เป็นคลื่นไฟฟ้าแบบกระแสสลับACโวลท์(Alternating current) ที่มาในรูปของคลื่นเสียงที่มีความถี่ต่างกัน ไม่ใช่ไฟดีซีโวลท์ (direct currect)ซึ่งทำให้ก่อเกิดความเสียหาย ถ้าปริมาณไฟดีซี ไหลผ่านขดลวดทองแดงที่ว้อยซ์ลำโพงมากๆ ทำให้ช็อตรอบ และเครื่องขยายเสียงก็จะเสียหายได้
3.จะได้ผลจริงหรือถ้าต่อสลับขั้ว
ตอบ : จริงครับ เพราะลองกันมาหลายคนแล้ว และได้ลองเองด้วย ได้ผลอย่างเห็นได้ชัด แต่ได้เฉพาะ สูตรตู้ลำโพง ที่ใส่ดอกลำโพง หันหน้าดอกลำโพงไปด้านหลัง หรือดอกลำโพงที่กึ่งคว่ำเฉลียงหันหน้าดอกออกไปด้านหลัง อย่างเช่น ลำโพงกลางแจ้ง สูตรตู้เทอร์โบ และ ดับเบิ้ลยู (ดับบลิว) จะได้ผลชัดเจน  แต่ถ้าเป็นตู้ลำโพงสูตรอื่น ที่หันดอกลำโพงด้านหน้า จะไม่ได้ผล แถมเสียงจะบางลงไปอีกตะหาก
4.ทำไมตู้ลำโพง สูตรนี้ถึงเป็นเช่นนั้น
ตอบ : ในทางทฤษฎี ก็พอรู้งูปลาๆครับลืมไปหมดแล้ว แต่ในทางปฏิบัติ คิดว่า  หน้าจะเป็นเพราะสูตรตู้ลำโพง ที่หันหน้าดอกไม่เหมือนกัน ระหว่าง ตู้ลำโพงเสียงกลาง และเสียงแหลม หันหน้าดอกออกมา ซึ่งมีความไวแรมด้าของคลื่นเสียงมากกว่า ซึ่งหูคนเราสามารถสัมผัสหรือได้ยินก่อน ส่วนสูตรตู้ลำโพงหน้าปิด ที่หันหน้าดอกไปด้านหลังนั้น
ย่อมเกิดการสูญเสีย หรือเกิดพลังงานการสะสมของคลื่นเสียงนั้น ก่อนที่จะปล่อยแรมด้าของคลื่นเสียงออกมาผ่านลิ้นหรือช่องระบายอากาศ ของสูตรตู้ลำโพงนั้นๆ จึงเกิดการหักเห ของคลื่นเสียง จึงทำให้แรมด้าของเสียงตัดกัน ระหว่างดอกลำโพงที่หันหน้าออกครับขอสรุปได้ว่า ไปลองต่อใช้กันครับ ถ้าใครมีข้ออธิบายที่ดีกว่านี้ โปรดชี้แนะ....    

ผม copy บทความนี้มาจากเว็ปแห่งหนึ่งนะครับ ขอขอบคุณเจ้าของบทความด้วยน่ะครับ
ส่วนที่ถามว่าใช้ไปนานๆจะมีผลเสียอย่างไรหรือเปล่าผมว่าไม่น่าจะมีปัญหาน่ะครับ
จริงครับผมเคยอ่านเจอที่ใหนจำไม่ได้แล้ว..อ่านแล้วลองมากลับขั๋วลำโพงทั้งหมดปรากฏว่าเสียงมาเพิ่ม30%เสียงแน่นขึ้น..ออผมกลับที่ตู้เลยครับไม่กลับที่ครอสเพื่อว่าวันใหนไม่ได้เอาครอสไปใช้ปรีขับแบบฟรูเร้นจะได้ไม่ลืมกลับขั่วอีก smiley4
นาย วิรัช วิภาวดี  เลขที่ 181/16 หมู่ 4 ตำบล ตะกุกเหนือ อำเภอ วิภาวดี จังหวัด สุราษฏร์ธานี 84180  TEL : 086-443-4989 ธ.กรุงไทย  830-0-00774-1  (นาย ธีรพงค์ จันทร์เชาว์)
สถานที่ทำงาน สถานีวิทยุ วิภาวดีซิตี้เรดิโอ 106 MHz 
email.virats@2554hotmail.com
vfm106.com


ออฟไลน์ vorachai23

  • พิมพ์ชื่อผมลงกูเกิ้ลได้เลยจ้า
  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 673
  • อะไรที่จำเป็นต้องรู้ก็ทำให้มันรู้
ถามต่อครับ สงสัยมานานแล้วเรื่องเฟสเนี่ยพอจะเข้าใจอยู่บ้าง
ดอกลำโพงตอนไม่มีสัญญาณมันจะอยู่ตรงกลางใช่ไหมครับ ป้อนบวกเข้าไปเด้งออกและกับมาตรงกลางเหมือนเดิมและรอเด้งออกอีกทีหรือว่า เด้งไปข้างหน้าแล้วดึงกลับไปต่ำสุดโดยผ่านจุดกึ่งกลางลงไปต่ำสุดแล้วค่อยกลังมานิ่งตรงกลางครับ 
นาย วรชัย  กิ่งแก้ว  เลขที่ 52/13 หมู่ 11 ตำบล บางครุ อำเภอ พระประแดง จังหวัด สมุทรปราการ 10130 TEL : AIS 081-152-3691 / True 084-002-5405  K-bank 054 2 58-732-6
 FaceBook วรชัย  กิ่งแก้ว  ที่อยู่ส่งของ วรชัย กิ่งแก้ว เลขที่ 26/51 ม.4 ซ.เพชรหึงส์ 11 ต.บางยอ อ.พระประแดง จ. สมุทรปราการ


ออฟไลน์ peerawit

  • ร้านนภาเครื่องเขียน
  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 787
 smiley4
นาย พีรวิชญ์   ศรีวริยกุล เลขที่ 179  หมู่ 1  ตำบล ไชยราช อำเภอ บางสะพานน้อย  จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์  77170  TEL 089-501-8275  ธ.กรุงเทพ  490-0xxx01-6


ออฟไลน์ aungdoy

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 382
นานข้ามปีแล้ว แต่อยากมาแชร์เผื่อมีคนอ่าน
ถามต่อครับ สงสัยมานานแล้วเรื่องเฟสเนี่ยพอจะเข้าใจอยู่บ้าง
ดอกลำโพงตอนไม่มีสัญญาณมันจะอยู่ตรงกลางใช่ไหมครับ ป้อนบวกเข้าไปเด้งออกและกับมาตรงกลางเหมือนเดิมและรอเด้งออกอีกทีหรือว่า เด้งไปข้างหน้าแล้วดึงกลับไปต่ำสุดโดยผ่านจุดกึ่งกลางลงไปต่ำสุดแล้วค่อยกลังมานิ่งตรงกลางครับ 
อาการที่ว่าป้อนบวกเข้าบวกแล้วเด้งออกน่ะ มันเป็นหลักการในการใช้ไฟดีซี จากถ่านไฟฉายเช็คเท่านั้นน่ะ
แต่คลื่นไฟฟ้าจากเพาเวอร์เข้าไปที่ลำโพงมันเป็นเอซี มีลููกคลื่นบวกลบแต่ไม่เหมือนไฟดีซี(ดีซีมันบวก ลบคงที่ไม่เปลี่ยน)
เพราะฉนั้น เวลาเราใช้งานจริง ลูกคลื่นบวกวิ่งเข้าไปลำโพงมันเด้งออกพอลูกลบเข้ามันก็เด้งกลับทิศทางกัน เพราะว่ามันเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปตัดกับแม่เหล็กถาวรของลำโพงซึ่งเป็นขั้วแม่เหล็กคงที่
คำว่าเฟสลำโพงมาจากตรงนี้เอง คือแรงอัดอากาศให้เกิดคลื่นเสียงไปกระทบหูคนฟัง
กับคำถามที่มันเด้งออกทางเดียว หรือทั้งออกทั้งเข้าคงเริ่มเห็นภาพราง ๆ แล้ว ถ้าจะให้ขัดเจนขึ้นก็ต้องมีตู้ลำโพงมาเกี่ยวข้อง ทำไม ? ต้องมีตู้สูตรนั้นสูตรนี้ให้วุ่นวายไปหมด ทำไม?
นาย วินัย  พิมพ์หล่อ เลขที่ 79 หมู่ 3 ตำบล ขี้เหล็ก อำเภอ เมือง จังหวัด อุบลราชธานี 34000 TEL : 081-389-6070 ธ.กรุงเทพ  0-340-4-09719-2


ออฟไลน์ อรุณซาวด์ เพชรบุรี

  • เถียงกับความจริง เถียงให้ตายก็ไม่มีทางชนะ
  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 526
เอ้า ช่วยกันมึน
ผมก็อปข้อความของผมเองมาต่อที่นี่นะครับ

อันนี้จะพิสูจน์ยังไงกันดีให้ชัดแจ้ง
คือว๊อย มันเป็นแม่เหล็กก็ต่อเมื่อมีไฟปล่อยเข้ามา
ปรกติ ว๊อย จะลอยอยู่กลางสนามแม่เหล็ก นั่นก็คือ ตูดลำโพงนั่นเอง
ตอนนี้ ว๊อย ลอยอยู่เพราะสไปเดอร์และไดอะเฟรมติดยึดเอาไว้
ทันทีที่ จ่ายไฟ+เข้าตามตามขั้วที่ถูกต้อง ว๊อย จะดันกรวยหรือไออะเฟรมออกมา
หากกลับขั้วโดยจ่ายไป-เข้าไปแทน มันจะดึงกรวยหรือว๊อยละโพงเข้าไปที่ก้นละโพงเพราะ
ว๊อย กลายเป็นแม่เหล็กที่ถูกกลับขั้ว
อันนี้ทุกท่านเข้าใจกันดี
แต่เสียงที่เราปล่อยออกไปจากแอมป์นั้น ไม่ไช่กระแสไฟดีซี
แต่มันเป็นกระแสสลับ มีความถี่ออกมาตามเสียงเพลงหรือตามคลื่นความถี่เสียง
เมื่อปล่อยกระแสสลับเข้าไป ในความถี่หนึ่ง ความแรงระดับหนึ่ง กรวยลำโพง
ก็จะกระพือขึ้นลงที่ระดับหนึ่งเช่นกัน ถูกไหมครับ
หากปล่อยไฟเข้าไปมากขึ้น มันก็จะขึ้นลงรุนแรงขึ้น
ทีนี้ ประเด็นสำคัญมันอยู่ที่ว่า

ไอ้เสียงกระเดื่องที่ดัง ตุ๊บๆๆๆๆ นั้น
ดอกมันจะกระพือขึ้นลงเท่ากัน (ถ้าเป็นเช่นนี้ไม่มีปัญหา)
 หรือมันกระแทกออกมา (อันนี้เคยเจอว๊อยออกมาจนสุดออกมาค้างอยู่ที่แกนแม่เหล็ก)
หรือมันกระแทกเข้าไป  หากเป็นเช่นนี้ ว๊อยก็จะกระแทกก้นละโพง ว๊อยจะเสียหาย)

อันนี้เราจะพิสูจน์อย่างไรกันดีครับ

สำหรับผม ให้หาแอมป์สักตัว เอาแบบเกินกำลังลำโพงหน่อย
เอาลำโพงราคาไม่แพงมา2ปาก ไหม่ๆ ยี่ห้อเดียวกัน
เร่งเท่ากันทั้ง2ดอก ดอกนึง ต่อถูกขั้ว อีกดอกนึง ต่อกลับขั้ว
แล้วเปิดให้แรงๆ ดูสิว่า ดอกไหนมันจะพัง พังด้วยอะไร

เพื่อนสมาชิกว่าไงกันครับ