Tigger Sound
สังคมออนไลน์คุณภาพของคนรักเครื่องเสียง
ทดสอบเสียง HK1.1 By Tiggersound https://www.facebook.com/tiggersound/videos/10218510874389162

การเร่งเพาเวอร์แอมป์ ,gain ,Sensitivity

0 สมาชิก และ 2 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ maisystem Fang

  • แม่งอน มิวสิค 2004
  • มือเบส
  • ***
    • กระทู้: 70
 smileyyขอบคุณครับความรู้ล้วนๆมีอะไรที่เรายังไม่รู้มีมากมายขอบคุณอีกครังครับ
081-5317616 DTAC เกรียงไกร มีงาม 19 หมู่7 ต.แม่งอน อ.ฝาง จ.เชียงใหม่ 50320 ( นาย เกรียงไกร มีงาม 408-1-14336-6 ธ.กรุงศรี สาขา ฝาง)


ออฟไลน์ Dr.Nong

  • หมอบ้านนอก
  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 671
อ่าน1รอบพอเข้าใจแต่ยังไม่ลึกซึ้งต้องทบทวนอีกทีอย่างไรก็ต้องขอขอบคุณอาจารย์หมอ พี่วินัย เฮียแซม และท่านอื่นที่มาแลกเปลี่ยนความรู้กัน ช่วยทำให้คนไม่มีความรู้ด้านนี้สักเท่าไหร่กระจ่างขึ้น ขอขอบคุณครับสำหรับความรู้ที่มอบให้ชาวทิกเกอร์ทุกคนครับ
นาย ถิรพล  ธารทอง (หมอหน่อง) โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหนองหัวปลวก หมู่ 12 ตำบลไผ่รอบ อำเภอโพธิ์ประทับช้าง จังหวัด พิจิตร 66100 TEL : 081-727-3088


ออฟไลน์ sittichai1334@hotmail.co.

  • ตอนอยากใด้เหมือนจะไม่เบื่อ
  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 682
  • ตอนอยากใด้เหมือนจะไม่เบื่อ
อ่าน1รอบพอเข้าใจแต่ยังไม่ลึกซึ้งต้องทบทวนอีกทีอย่างไรก็ต้องขอขอบคุณอาจารย์หมอ พี่วินัย เฮียแซม และท่านอื่นที่มาแลกเปลี่ยนความรู้กัน ช่วยทำให้คนไม่มีความรู้ด้านนี้สักเท่าไหร่กระจ่างขึ้น ขอขอบคุณครับสำหรับความรู้ที่มอบให้ชาวทิกเกอร์ทุกคนครับ
เข้าเวปนี้แล้วไม่ต้องไปเรียนที่ไหนเลยท่าน
สิทธิชัย บุญเรือง 33/1240ถ.งามวงค์วาล แขวงลาดยาว เขตรจตุจักร กทม<br />10900 กรุงไทยออมทรัพย์0970016662 โทร0897641028


ออฟไลน์ 3Y.music

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 136
ขอบคุณหมอและพี่วินัยมาก ของผมlowคลิปง่ายและตลอดทุกงาน เสาะหาคำตอบมานานแล้วว่าทำไมพอมาอ่านหลายๆรอบเลยรู้ว่าระบบเราต้องทำการบาลานซ์ก่อน เพราะไม่อย่างนั้นจะมีบางสัญญาณที่เกินไปหรือน้อยไป มีความรู้แล้วจะนำไปปรับใช้ต่อไป ขอบคุณมากๆๆครับ
นายเกษม    กันชัย  ผู้จัดการศุภนิมิตฯ ADP ผาช้างน้อย 
เลขที่ 53 หมู่ 15 บ้านเก๊าเงา ตำบลงิม อำเภอปง
จังหวัดพะเยา 56140  โทร 054-448510 ,08-6179-2085


ออฟไลน์ Sor marn Music

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 325
ขอบคุณ คุณหมอมาก  ที่ให้คำแนะนำทางโทรศัพท์
เป็นทั้งหมอรักษาคนไข้  และ หมอเครื่องเสียง เก่งมากจริง ๆ นับถือ smiley4 smiley4 smiley4
นาย สมาน  คำขาว (ครูหมาน)  วิทยาลัยเทคนิคกันทรลักษ์  เลขที่ 82 หมู่ 1 ตำบล จานใหญ่  อำเภอ กันทรลักษ์ จังหวัด ศรีสะเกษ 33110  TEL : 085-682-9183  ธ.กรุงไทย  3120096768
https://www.facebook.com/samarn.khamkhao


ออฟไลน์ punchai44

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 263
  • วสส.พล.รุ่น 40
ขอคุณมากครับ ผมพึ่งเข้าใจวันนี้ หลังจากที่อ่านแล้ว 2 รอบ 555....ขอบคุณอาจารย์ทุกท่านเลยครับ
นาย พูลชัย ธรรมวงศา (โจ้) OTOP กลุ่มผ้าเย็บมือ  37 ม.2 ต.เมืองใหม่ อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวลำภู 39180<br />AIS 087-2191412                            บัญชี กสิกรไทย ออมทรัพย์ 3142624280


ออฟไลน์ seses12345

  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 599
สุดยอดมากเลย
ศิวาวุธ เงินโชคอำนวย 
21 ถ.ประชาสงเคราะห์ ซ.ประชาสงเคราะห์31  เขต ดินแดง  อำเภอ ดินแดง จ.กรุงเทพ 10400 โทร 085-163-5818


ออฟไลน์ punchai44

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 263
  • วสส.พล.รุ่น 40
ลองเอาไปใช้งานจริงแล้วครับ สิ่งที่เห็นได้ชัดในระบบของผม คือเร่งเสียงไมค์ได้ แรงขึ้น และมอนิเตอร์ ได้ยินชัดเจนมาก เมื่อก่อน gain ไมค์ ผมไม่ให้เกิน 0dB จะมีปัญหาเรื่องไมค์มาก เสียงเบา พอเร่งหน่อยก็หอน ภาพรวมของระบบมว่าเสียงมันแน่นขึ้นนะ สรุปตอนนี้volume amp ผม balance (เกือบClip) ที่ประมาณบ่าย2 ทั้งlow,mid-h จากเมื่อก่อนเปิดเต็ม แต่ทีcross gain out put ปรับไว้อยู่ที่ 0,-5 (low,mid-h) ขอบคุณความรู้ดีๆ จากอาจารย์ทุกท่านอีกครั้งครับ
นาย พูลชัย ธรรมวงศา (โจ้) OTOP กลุ่มผ้าเย็บมือ  37 ม.2 ต.เมืองใหม่ อ.ศรีบุญเรือง จ.หนองบัวลำภู 39180<br />AIS 087-2191412                            บัญชี กสิกรไทย ออมทรัพย์ 3142624280


ออฟไลน์ max_medkku

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 151
การปรับ input sensitivity ของ power amp บางรุ่น อาจเป็นแบบ dip switch เช่น ของ  labgruppen A&J รุ่น FS series เป็นต้น เป็น inputsensitivity แบบ fixed gain 8 step

คือสามารถปรับ input sensitivity ได้ 8 step คือ 23, 26, 29, 32, 35, 38, 41, 44 dB



ถ้าเราปรับ dip switch เป็น 32 dB หมายความว่า
- input 0 dB จะได้ output ขยายเป็น 32 dB
- input +4 dB จะได้ output ขยายเป็น 36 dB
- input -6 dB จะได้ output ขยายเป็น 26 dB

แต่เราจะรู้ได้อย่างไรว่า เครื่องเสียงเราสมควรจะปรับไว้ที่ตำแหน่งไหน

ตามคู่มือที่ให้ไปอ่านเขาบอกว่า
ต้อง รู้ว่า dBSPL ที่เราต้องการ ในงานนั้นๆ ว่าต้องการเท่าไร แล้วมาคำนวนกลับว่า เราควรจะปรับ dip switch ไว้ที่ตำแหน่งใด เพื่อให้เหมาะสมกับ กำลังขับของ power amp และ ดอกลำโพงของเรา





จากรูปที่ 2
สิ่งที่เราต้องใช้คำนวน เพื่อออกแบบ กำลังของดอกลำโพงที่เหมาะสม(PNOM)โดยใช้ระดับความเข้มเสียง ณ จุดอ้างอิง (target dBSPL) คือ
1. Speaker sensitivity มีหน่วยเป็น dBSPL/W/m (หาดูได้จาก specification sheet ของ ดอกลำโพงของคุณ)
2. DBSPL ณ จุดที่เราต้องการ(target dBSPL)
3. ระยะห่าง จากดอกลำโพง ถึง จุดอ้างอิง (dmeters) มีหน่วยเป็น เมตร

โดยใช้สูตร


สูตร 2 หาค่ากำลังที่จุดอ้างอิง (PdB-NOM)


ขอยกตัวอย่าง spec ของ ลำโพงรุ่นหนึ่งมาให้ดูเพื่อ คำนวนนะครับ



ตัวอย่างการคำนวน

ถ้า power rate 1200W rms
ที่ระยะ 30 เมตร จะได้ dBSPL
ใช้สูตร

DBSPL=98+10log1200 -20log30
= 99.25 dB



ถ้าเราต้องการ target dBSPL =90 dBSPL ที่ระยะห่าง 30 เมตร โดยใช้ ลำโพงที่ยกตัวอย่าง 1 ดอก(impedance = 8 ohms) วิธีคิดคือ
1. หาค่า PdB-NOM ณ จุดอ้างอิง โดยใช้สูตร

PdB-NOM= [90+20log(30)]-98
PdB-NOM = (90+30)-98 = 21.54 W

2.หาค่า PNOMของลำโพง จากสูตร

PNOM=10PdB-NOM/10

PNOM=1021.54/10 = 102.154 = 142.6W


PAMP คือ กำลังของ amplifier เวลาเลือก ควรให้มากกว่าหรือเท่ากับ Pmax ของลำโพง เช่น speaker รุ่นนี้ Pmax(RMS)=1200 W การเลือก power amp ควรให้ ได้มากกว่าหรือเท่ากับ 1200 W


ทีนี้เมื่อเราได้ PNOM ก็ไปคำนวน หา voltage output (VNOM) ของ amp ว่าถ้า ขับดอกลำดพงดอกนี้ด้วยกำลังที่เท่ากับ  PNOM จะใช้ voltage เท่าไร
โดยใช้สูตร

V=รากที่สองของ PxR
จะได้ VNOM= รากที่สอง PNOMxR
VNOM= รากที่สอง 142.6x8
VNOM= 33.78 V


เปลี่ยน V เป็น dB ตามสูตร
dBNOM=20log[VNOM/V0] ; V0=0.775V
จะได้
dBNOM=20log (33.78/0.775) = 32.7dB

ถ้าเราใช้ sensitivity แบบ dip switch เราก็ปรับไว้ที่ 32 dB
ดังนั้น เราจะ match สัญญาณจาก mixer 0 dBu เมื่อผ่านมาที่ amp จะขยายเป็น 32 dB ที่ภาค output ของ amp ได้แรงดัน 33.78 V เมื่อต่อกับ speaker 8 ohms ที่มี sensitivity 98dB/W/m และได้กำลัง 142.6 W เมื่อระยะห่างจากจุดกำเนิด 30 เมตร จะมีความเข้มเสียง 90 dB



เดี๋ยวเรื่อง VPL (Voltage Peak Limiter) จะมาต่อให้อีกทีนะครับ กับ headroom จะมาต่ออีกทีนะครับ



อัษฎาวุธ สอนพรหม
086-8624610


ออฟไลน์ ถาวร

  • มือเบส
  • ***
    • กระทู้: 58
    • PLC Home Automation
  ขอขอบคุณสำหรับความรู้ดีๆ และขอแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ด้วยคนนะครับ

- เสียงร้อง/ดนตรีแต่ละชิ้น มันแกว่งขึ้นลงๆ ไปตามความถี่ น้ำหนักและจังหวะ ไม่นิ่ง ระดับ 0dB จึงแค่ใช้ประมาณเท่านั้น
- Mixer มันก็มีหลายช่อง บางทีสัญญาณมันก็มาพร้อมๆ ทุกช่อง บางทีมาหลายช่อง บางทีมาบางช่อง บางทีมันก็มาช่องเดียว บางทีมันก็ไม่มีเลย (เงียบ) (สัญญาณจากคอมฯ คาราโอเกาะ เป็นสัญญาณเดียว คือมีการ Mix มาแล้ว)
- บัางทีมีเสียงร้องกระแทก ตะโกนใส่ไมค์ บางจังหวะ กลอง,เครื่องเคาะ ก็จำเป็นให้ดังกว่าปกติ ตามอารมณ์ของดนตรี

- สัญญาณเมื่อรวมกัน(Sum) จะถูกดัดแปลง Voltages/samples แล้วมาออกเป็น Output (Combined signals)
- สัญญาณ 0dB จาก Channel สัญญาณเดียว ไปที่ Main Mix 0dB ก็น่าจะออกที่ 0dB  เพราะไม่ผสมกับใคร
- ถ้าสัญญาณ 0dB สองช่อง mixed กัน มันต้องสูงกว่า 0dB แน่ จะมากหรือน้อยก็เท่านั้น เพราะเราคงไม่ป้อนสัญญาณที่กลับเฟสเข้ามา Mixed จึงไม่มีโอกาสเกิดการหักล้างให้ลดระดับสัญญานลงไป

- ถ้ายิ่งหลายๆสัญญาณเกิดมาพร้อมๆกัน ผลลัพธ์มันก็น่าจะต้องขยับเพิ่มขึ้นไปอีก ถือเป็น Reproduce ของตัว Mixer
- เป็นเหตุการณ์ของสัญญาณที่เพิ่มขึ้นโดยไม่คาดคิด เชื่อว่านี่คือเหตุผลหนึ่งที่ต้องมี Headroom เพื่อเอาไว้รองรับมัน

- คิดว่า ถ้าใช้ Headroom สูงๆที่ Channel หลายช่อง เมื่อรวมสัญญาณที่ Main Mix ณ 0dB อาจถึงจุด Clip ได้ง่ายๆ
  (Headroom มีมากยิ่งดีปลอดภัย มีน้อยต้องระวังการใช้งาน มีมากใช้มากเหลือน้อยก็ต้องระวังเหมือนกัน)

- ส่วนตัวแล้ว แต่ละ Channel ตั้ง Gain ไว้ที่ 0dB บ้าง,ต่ำกว่าบ้างแล้วแต่ชนิดดนตรี บางช่องก็ Peak หน่อย เช่น Drum,Snare เป็น Tempo ช่วงสั้นๆที่ต่อเนื่อง,Bass,เสียงร้องตั้งที่ 0dB เมื่อรวมที่ Main Mix จะวิ่งใน Headroom สูงกว่าเสียงอื่น (จะต่ำหรือจะ Peak Set ที่ Gain แต่สไล้ด์ Channel Fader ยังคงปรับให้อยู่ที่ 0dB เป็นตำแหน่งปฏิบัติการไว้ก่อน) 
- แล้วสัญญาณที่ Main Mix จะแกว่งขึ้นลงตั้งแต่ 0dB และส่วนใหญ่จะล้ำเข้าไปใช้พื้นที่ Headroom มากบ้างน้อยบ้าง
- Processor อื่นๆ มันก็มี Reproduce เป็นของตัวเองเหมือนกัน แต่ความแตกต่างคงไม่เท่า Mixer บางอย่างก็ลดลง
  เช่น Crossover , Compressor , Feedback (การบันทึกเสียงอาจไม่ใช่แบบนี้ก็ได้)

- แต่ละ Channel เหมือนส่วนประกอบอาหารที่เติมเข้ามา ใช้ถ้วยตวงขนาด 0dB เป็นมาตรวัด ชอบรสชาติอย่างไรก็ Mixed เอาเอง เมื่ออร่อยดีแล้ว กินมากน้อยแค่ไหนก็เปิดที่ Sub-Group หรือ Main Mix บริโภคเข้าไป น่าจะใกล้เคียง 

- การเร่ง Gain Input ของ Power Amp เน้นสัญญาณเต็ม จึงไม่เร่งสุดครับ ขึ้นกับการใช้งาน พื้นที่ และกำลังขับ

   smiley4ถ้าผิดพลาดขออภัย หรือหากได้รับความรู้ใหม่ๆ ก็พร้อมที่จะเปลี่ยนแนวความคิดนี้ได้ครับ..
ถาวร แสงฤทธิ์
ตำรวจภูธรภาค 8 เลขที่ 88/8 ม.5 ถ.เทพกระษัตรีย์ ต.ไม้ขาว อ.ถลาง จ.ภูเก็ต 83110
ธนาคารกรุงไทย 808-1-96142-9  โทรศัพท์ 081 8928627


ออฟไลน์ sombattsound

  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 153
ถามแบบไม่รู้จริงๆครับว่า

ผมใช้ YAMAHA  O1V96  mixer

และ Power amp CROWN powertech 2   ขับกลางแหลม ( JBL JRX115 ข้างละ 2 ใบ )

และใช้ power amp craftaudio pv7 ขับเบส ( EV S181 ข้างละ 2 ใบ )

ผมต้องปรับสวิท ที่ 0.77v หรือ 1.4v ครับ  ช่วยตอบด้วยนะครับ

นี่spec ของ crown powertech 2ครับ

 
The following applies to units in Stereo mode with 8-ohm loads and an
input sensitivity of 26 dB unless otherwise specified.
Standard 1 kHz Power: refers to maximum average power in watts at
1 kHz with 0.1% THD.
Full Bandwidth Power: refers to maximum average power in watts
from 20 Hz to 20 kHz with 0.1% THD.
120 VAC, 60 Hz Units:   refers to amplifiers with dedicated transformers
for 120 VAC, 60 Hz power mains.
International Units:    refers to amplifiers with special multi-tap
transformers that make them configurable for several AC mains
voltages and line frequencies.
Performance
Frequency Response:±0.1 dB from 20 Hz to 20 kHz at
1 watt.
Phase Response: ±10 degrees from 10 Hz to 20 kHz at
1 watt.
Signal-to-Noise:A-weighted, better than 105 dB below
full bandwidth power. Better than 100 dB below full
bandwidth power from 20 Hz to 20 kHz.
Total Harmonic Distortion (THD): Less than 0.05% at
full bandwidth power from 20 Hz to 1 kHz increasing
linearly to 0.1% at 20 kHz.
Intermodulation Distortion (IMD):(60 Hz and 7 kHz
4:1) Less than 0.05% from less than 171 milliwatts to full
bandwidth power.
Damping Factor: Greater than 1,000 from 10 Hz to
400 Hz.
Crosstalk
Power-Tech 1: Greater than 75 dB below full bandwidth
power from 50 Hz to 2 kHz, rising linearly to greater than
60 dB at 20 kHz.
Power-Tech 2: Greater than 90 dB below full bandwidth
power from 50 Hz to 2 kHz, rising linearly to greater than
66 dB at 20 kHz.
Power-Tech 3: Greater than 90 dB below full bandwidth
power from 50 Hz to 4 kHz, rising linearly to greater than
70 dB at 20 kHz.
Controlled Slew Rate:Greater than 13 volts/ms.
Voltage Gain: 20:1 ±3% or 26 dB ±0.25 dB at the
maximum level setting.
Power-Tech 1: 54:1 ±12% or 35 dB ±0.5 dB at 0.775-volt
sensitivity; 30:1 ±12% or 30 dB ±1 dB at 1.4-volt
sensitivity.
Power-Tech 2: 66:1 ±12% or 36 dB ±0.5 dB at 0.775-volt
sensitivity; 36:1 ±12% or 31 dB ±1 dB at 1.4-volt
sensitivity.
Power-Tech 3: 84:1 ±12% or 38 dB ±0.5 dB at 0.775-volt
sensitivity; 46:1 ±12% or 33 dB ±1 dB at 1.4-volt
sensitivity.
นาย สยาม ชุมภารี เลขที่ 145/2 หมู่ 4 ตำบล ปราณบุรี อำเภอ ปราณบุรี   จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์  77120   TEL : 081-565-3344  ธ.ไทยพานิช 9192013565


ออฟไลน์ ถาวร

  • มือเบส
  • ***
    • กระทู้: 58
    • PLC Home Automation
- เรื่องกำลัง Watt(W) , Gain(dB) , Input Sensitivity(Volt) , Volume(+-dB) มันมั่วๆ ปนๆ กันจนแยกไม่ออกแล้ว

- พยายามหาข้อมูลเรื่อง sensitivity เท่าที่หามาได้มานำเสนอ ดังนี้ครับ..

- Input sensitivity มีค่าที่เป็นมาตรฐานอยู่ 2 ค่าคือ 0.77V ( เป็นมาตรฐาน Signal Processor และ 1.4V เป็นมาตรฐาน Broadcast (เขาว่างั้น)
- เครื่องที่มีปุ่มเลือกก็แสดงว่าเปลี่ยนค่า sensitivity ได้ เครื่องที่ไม่มี ก็แสดงว่า Fixed ค่า sensitivity คงที่
- ค่า sensitivity  0.77V ย่อมต่างกับ 1.4V แน่นอน แต่เราเข้าใจมันอย่างไรเท่านั้น อย่าเข้าใจว่าเป็นกำลังนะ..

- Amp ชนิดเดียวกัน 2 ตัว ตัวหนึ่งที่ตั้ง sensitivity = 0.77V จะต้องการใช้ gain(dB) ที่มากกว่าอีกตัวหนึ่ง ที่ตั้ง 1.4V เพื่อขับ Output ให้ได้กำลังเท่ากัน
- นั่นคือมันต้องการ Input Voltage gain ที่แตกต่างกันเพื่อขยายสัญญาณให้ได้เต็มกำลัง (ต่างยี่ห้อ ต่าง Sensitivity ก็ยิ่งไม่เหมือนกัน เขาจึงให้มีมาตรฐานเอาไว้เผื่ออาจใช้ร่วมกันมั้ง..)

- เปรียบเทียบกับรถยนต์ 2 คัน ยี่ห้อและรุ่นเดียวกัน เครื่องยนต์เหมือนกัน คันหนึ่งเราปรับแต่งคันเร่งให้เหยียบนิดเดียวก็เต็มรอบ แสดงว่าคันที่แต่งคันเร่งมี sensitivity สูง แต่สุดท้ายก็วิ่งได้เร็ว หรือมีกำลังเท่ากัน (น้ำหนักการเหยียบคันเร่งที่กดลงไป ก็คือลักษณะของ Input Sensitivity นั่นเอง)
- จึงมิได้หมายความว่าตั้งค่าแล้ว ตัวใดตัวหนึ่งจะมีกำลังมากกว่าหรือน้อยกว่าอีกตัวหนึ่ง เพียงแต่ว่าเมื่อตั้งค่าแล้ว เอาไปใช้ร่วมกับระบบไหน บรรเลงในระดับเดียวกันหรือเปล่า  (หรือใช้กับคนขับรถที่เป็นคนชอบเหยียบคันเร่งแบบเดียวกันหรือเปล่า..)

- แต่มี Sensitivity อีกอันหนึ่งที่ใช้เป็นค่าอ้างอิงกับค่า Voltage Gain เช่น Crown เห็นอ้างอิงที่ 26dB เพื่อให้บอกค่า Sensitivity ซึ่งก็มีค่าแตกต่างกันตามวงจรที่วิศวกรอออกแบบ และตามกำลังขับ ซึ่งเป็นทางเลือกนอกจาก 0.77V หรือ 1.4V อีกทางเลือกหนึ่ง
- รุ่นที่ Fixed Sensitivity ก็จะมีบอกในเอกสาร Specification โดย Gain เป็นค่า dB และ Sensitivity เป็นค่า Volt เราจำต้องใช้ไปตามนั้น

- 0.77V หรือ 1.4V มันน่าจะใช้กรณีระบบใหญ่ ที่มี Power Amp หลายๆ ตัว หลายๆ กำลัง หรือหลายๆยี่ห้อมาใช้ร่วมกัน มันเอาไว้แก้ปัญหากรณีมีสถานการณ์จำเป็นที่ต้องแก้ไข เช่น Power Amp เสียงกลาง เกิดเสียขณะแสดงสด จำเป็นต้องเปลี่ยน Power Amp ตัวใหม่ต่างรุ่นต่างกำลังกันมาใช้แทนด่วน จำเป็นต้องตั้ง sensitivity หรือ Gain(dB) ให้มีระดับเท่าเดิมหรือใกล้เคียงมากที่สุด ไม่กระทบต่ออุปกรณ์ Processor อื่นๆที่ต่อพ่วงด้วย เช่น limiter จะได้ไม่ต้อง Set ปรับจูนใหม่ให้มากมาย อะไรอย่างนั้น



- ตัวอย่างข้อมูลยี่ห้อ Crown ตามภาพด้านบน มันมี Sensitivity มาตรฐาน 0.77V กับ 1.4V และ Sensitivity @ 26dB อีก 1 อัน เป็น 3 อันให้เลือก
- หรือจะบอกว่า มันมี Voltage Gain 26dB 1 อัน และ Voltage Gain @ 0.77V กับ 1.4V อีก 2 อันให้เลือก เพื่อให้ทราบกรณีต้องการขับเต็มกำลัง (งงๆ หน่อยนะ เพราะมันมองภาพได้ 2 มุม)
- สมมุติว่าในระบบใหญ่ระบบหนึ่ง Power Amp ทั้งหมดเลือกใช้ 0.77V และต่อมา MA2402 เกิดเสีย จำเป็นต้องเอา MA5002VZ มาแทนชั่วคราว แต่ระหว่างนั้นไม่มีเวลาปรับแต่ง คงต้องใช้ Input Voltage Gain เดิม จึงต้องปรับ Input Sensitivity ของเครื่อง MZ5002VZ ให้เป็น 1.4V ซะ
- นั้นคือเดิมใช้ 38dB เมื่อเปลี่ยน Amp แล้วจะเป็น 37dB ถือว่าค่าใกล้เคียง ทีนี้ Processor อื่นที่ต่อก่อนหน้ามันก็แทบจะไม่ต้องปรับอะไร

- เป็นความเข้าใจส่วนตัวนะครับ ผมว่าเราใช้ค่าปกติที่ 26dB ดีกว่ามั้ง ดูแล้วมันมี Sensitivity สูงกว่าค่ามาตรฐาน จึงต้องการ Voltage Gain น้อย คือ 26dB เท่านั้น ใกล้เคียงกับระดับที่ Mixer ทำได้ แสดงว่าระบบมาตรฐาน ต้องการสัญญาณที่มี Voltage Gain สูงๆ อาจจะเพื่อการประมวลผลที่ดี ระบบใหญ่ที่เราไม่มีโอกาสสัมผัส ไม่รู้ว่าที่เข้าใจมาใกล้เคียงกับที่ถูกต้องจริงๆ หรือเปล่า..
- ถือว่ารับฟังข้อมูลไว้พิจารณานะครับ แปลๆเขามา ยกตัวอย่างเห็นภาพดี อาจแปลผิดไม่ใช่อย่างที่อธิบายนี้ก็ได้ บางส่วนก็พอไปได้ บางส่วนก็ยังไม่ชัดเจน ช่วยกันศึกษาและให้ความเห็นได้ครับ.. smiley4
ถาวร แสงฤทธิ์
ตำรวจภูธรภาค 8 เลขที่ 88/8 ม.5 ถ.เทพกระษัตรีย์ ต.ไม้ขาว อ.ถลาง จ.ภูเก็ต 83110
ธนาคารกรุงไทย 808-1-96142-9  โทรศัพท์ 081 8928627


ออฟไลน์ BushPam

  • อรพรรณซาวด์ By ครูรัตน์โนนศิลา
  • มือกีตาร์
  • ****
    • กระทู้: 130
  • OPS Sound and Light
ผมลองทำดูแล้ว พี่หมอ แม๊กซ์  ใช้ได้เลยครับ smiley4

แจ๋วเลยครับ smiley4
นาย ภูมินทร์ ชาลีคาร(ครูบุช) เลขที่ 197  หมู่ 8 บ้าน เมืองเพีย ตำบล เมืองเพีย อำเภอ บ้านไผ่ จังหวัด ขอนแก่น 40110  TEL : 096-662-6659 / ธ.กรุงไทย xxx-x-xxxxx-x
จัดส่งสินค้า  โรงเรียน จตุรมิตรวิทยาคาร เลขที่ 78 หมู่ 11 ถนน มะลิวัลย์ ตำบล นาเพียง อำเภอ ชุมแพ จังหวัด ขอนแก่น 4013


ออฟไลน์ CLT

  • ท่านผู้ชม
  • **
    • กระทู้: 38
ขอบคุณครับสำหรับความรู้ดีๆ ที่ช่วยกันแชร์ประสบการณ์มาให้สมาชิกได้เรียนรู้กัน


ออฟไลน์ sarawutsound

  • filippe99
  • มือกลอง
  • *****
    • กระทู้: 442
  • ศราวุธ บูรณะพิมพ์ 9/2 ม.1 ต.โคกแย้ อ.หนองแค จ.สระบ
การปรับ input sensitivity ของ power amp บางรุ่น อาจเป็นแบบ dip switch เช่น ของ  labgruppen A&J รุ่น FS series เป็นต้น เป็น inputsensitivity แบบ fixed gain 8 step

คือสามารถปรับ input sensitivity ได้ 8 step คือ 23, 26, 29, 32, 35, 38, 41, 44 dB



ถ้าเราปรับ dip switch เป็น 32 dB หมายความว่า
- input 0 dB จะได้ output ขยายเป็น 32 dB
- input +4 dB จะได้ output ขยายเป็น 36 dB
- input -6 dB จะได้ output ขยายเป็น 26 dB

แต่เราจะรู้ได้อย่างไรว่า เครื่องเสียงเราสมควรจะปรับไว้ที่ตำแหน่งไหน

ตามคู่มือที่ให้ไปอ่านเขาบอกว่า
ต้อง รู้ว่า dBSPL ที่เราต้องการ ในงานนั้นๆ ว่าต้องการเท่าไร แล้วมาคำนวนกลับว่า เราควรจะปรับ dip switch ไว้ที่ตำแหน่งใด เพื่อให้เหมาะสมกับ กำลังขับของ power amp และ ดอกลำโพงของเรา





จากรูปที่ 2
สิ่งที่เราต้องใช้คำนวน เพื่อออกแบบ กำลังของดอกลำโพงที่เหมาะสม(PNOM)โดยใช้ระดับความเข้มเสียง ณ จุดอ้างอิง (target dBSPL) คือ
1. Speaker sensitivity มีหน่วยเป็น dBSPL/W/m (หาดูได้จาก specification sheet ของ ดอกลำโพงของคุณ)
2. DBSPL ณ จุดที่เราต้องการ(target dBSPL)
3. ระยะห่าง จากดอกลำโพง ถึง จุดอ้างอิง (dmeters) มีหน่วยเป็น เมตร

โดยใช้สูตร


สูตร 2 หาค่ากำลังที่จุดอ้างอิง (PdB-NOM)


ขอยกตัวอย่าง spec ของ ลำโพงรุ่นหนึ่งมาให้ดูเพื่อ คำนวนนะครับ



ตัวอย่างการคำนวน

ถ้า power rate 1200W rms
ที่ระยะ 30 เมตร จะได้ dBSPL
ใช้สูตร

DBSPL=98+10log1200 -20log30
= 99.25 dB



ถ้าเราต้องการ target dBSPL =90 dBSPL ที่ระยะห่าง 30 เมตร โดยใช้ ลำโพงที่ยกตัวอย่าง 1 ดอก(impedance = 8 ohms) วิธีคิดคือ
1. หาค่า PdB-NOM ณ จุดอ้างอิง โดยใช้สูตร

PdB-NOM= [90+20log(30)]-98
PdB-NOM = (90+30)-98 = 21.54 W

2.หาค่า PNOMของลำโพง จากสูตร

PNOM=10PdB-NOM/10

PNOM=1021.54/10 = 102.154 = 142.6W


PAMP คือ กำลังของ amplifier เวลาเลือก ควรให้มากกว่าหรือเท่ากับ Pmax ของลำโพง เช่น speaker รุ่นนี้ Pmax(RMS)=1200 W การเลือก power amp ควรให้ ได้มากกว่าหรือเท่ากับ 1200 W


ทีนี้เมื่อเราได้ PNOM ก็ไปคำนวน หา voltage output (VNOM) ของ amp ว่าถ้า ขับดอกลำดพงดอกนี้ด้วยกำลังที่เท่ากับ  PNOM จะใช้ voltage เท่าไร
โดยใช้สูตร

V=รากที่สองของ PxR
จะได้ VNOM= รากที่สอง PNOMxR
VNOM= รากที่สอง 142.6x8
VNOM= 33.78 V


เปลี่ยน V เป็น dB ตามสูตร
dBNOM=20log[VNOM/V0] ; V0=0.775V
จะได้
dBNOM=20log (33.78/0.775) = 32.7dB

ถ้าเราใช้ sensitivity แบบ dip switch เราก็ปรับไว้ที่ 32 dB
ดังนั้น เราจะ match สัญญาณจาก mixer 0 dBu เมื่อผ่านมาที่ amp จะขยายเป็น 32 dB ที่ภาค output ของ amp ได้แรงดัน 33.78 V เมื่อต่อกับ speaker 8 ohms ที่มี sensitivity 98dB/W/m และได้กำลัง 142.6 W เมื่อระยะห่างจากจุดกำเนิด 30 เมตร จะมีความเข้มเสียง 90 dB



เดี๋ยวเรื่อง VPL (Voltage Peak Limiter) จะมาต่อให้อีกทีนะครับ กับ headroom จะมาต่ออีกทีนะครับ






ขอบคุณอาจารย์มากๆครับ ^^  smiley4
นาย ศราวุธ บูรณะพิมพ์ เลขที่ 9/2 หมู่ 1 ตำบล โคกแย้ อำเภอ หนองแค จังหวัด สระบุรี 18230 TEL : 080-107-4071