Tigger Sound
ห้องสมุด คลังความรู้ต่างๆ ในแวดวงเครื่องเสียง
=> บริการหลังการขาย จากผู้ผลิต ถึงผู้บริโภค => สำหรับผู้ผลิตพบผู้บริโภค หรือต้องการสอบถามด้านเทคนิค เกี่ยวกับอุปกรณ์เครื่องเสียง เชิญได้ที่ห้องนี้ครับ => P-Audio พี ออดิโอ => ข้อความที่เริ่มโดย: โก้ สระบุรี ที่ มิถุนายน 10, 2014, 09:12:23 pm
-
ตอนนี้สั่ง 1800 el จำนวน 28 ดอกแล้วครับ บางคนก้อบอกว่า N แรงกว่าเลยสับสนนะครับ ผมเลยชลอร้านที่สั่งเอาไว้ก่อนครับ ถ้าราคาหนีกันไม่มากก้อจะเปลี่ยนใจเล่นตัว N พี่ๆคนใหนพอมีความรู้ด้านนี้ตอบด่วนเลยครับ
-
ตอนนี้สั่ง 1800 el จำนวน 28 ดอกแล้วครับ บางคนก้อบอกว่า N แรงกว่าเลยสับสนนะครับ ผมเลยชลอร้านที่สั่งเอาไว้ก่อนครับ ถ้าราคาหนีกันไม่มากก้อจะเปลี่ยนใจเล่นตัว N พี่ๆคนใหนพอมีความรู้ด้านนี้ตอบด่วนเลยครับ
2 รุ่นนี้ต่างกันที่แม่เหล็กค่ะ เรื่องเสียงก็จะคล้ายกัน ถ้าเทียบแค่ 2 รุ่นนี้ มองที่การใช้งานดีกว่าค่ะ
SD18-1700EL แม่เหล็กเฟอร์ไรน์ น้ำหนักแม่เหล็ก 3 kg น้ำหนักตัวงาน 16 kg
SD18-1700N แม่เหล็กนีโอ น้ำหนักแม่เหล็ก 0.6 kg น้ำหนักตัวงาน 14 kg
ค่าอย่างอื่นใกล้เคียงกันค่ะ แต่ที่ต้องศึกษาควบคู่การตัดสินใจ
แม่เหล็กนีโอ ค่าความแรง ความหนาแน่น 9000-12000 Gauss
แม่เหล็กเฟอร์ไรน์ ค่าความแรง ความหนาแน่น 2000-4000 Gauss
จะเห็นได้ว่าความแรงและความไว นีโอเหนือกว่ามากถ้าเปิดเทียบจะเห็นความต่างชัด แต่ในขณะเดียวกัน การทนความร้อน นีโอทนได้แค่ 280 องศาและจะศูนย์เสียความเป็นแม่เหล็กชั่วคราว ถ้าร้อนกว่านั้นจะสูญเสียความเป็นแม่เหล็กถาวร และไม่สามารถชาร์จเพิ่มได้
ในขณะที่แมเหล็กเฟอร์ไรน์ น้ำหนักมากกว่า ความแรงน้อยกว่าและให้ความไว น้อยกว่านีโอ แต่ก็อยู่ในค่าที่ใช้กันทั่วไป ทนความร้อนได้ถึง 450 องศา และถ้าศูนย์เสียความเป็นแม่เหล็ก หรือแรงน้อยลง สามารถชาร์จเพิ่มได้ค่ะ
ลูกค้าลองดูลักษณะงานของตัวเองนะคะ ว่าควรใช้ตัวใหนค่ะ ^^
-
ตอนนี้สั่ง 1800 el จำนวน 28 ดอกแล้วครับ บางคนก้อบอกว่า N แรงกว่าเลยสับสนนะครับ ผมเลยชลอร้านที่สั่งเอาไว้ก่อนครับ ถ้าราคาหนีกันไม่มากก้อจะเปลี่ยนใจเล่นตัว N พี่ๆคนใหนพอมีความรู้ด้านนี้ตอบด่วนเลยครับ
2 รุ่นนี้ต่างกันที่แม่เหล็กค่ะ เรื่องเสียงก็จะคล้ายกัน ถ้าเทียบแค่ 2 รุ่นนี้ มองที่การใช้งานดีกว่าค่ะ
SD18-1700EL แม่เหล็กเฟอร์ไรน์ น้ำหนักแม่เหล็ก 3 kg น้ำหนักตัวงาน 16 kg
SD18-1700N แม่เหล็กนีโอ น้ำหนักแม่เหล็ก 0.6 kg น้ำหนักตัวงาน 14 kg
ค่าอย่างอื่นใกล้เคียงกันค่ะ แต่ที่ต้องศึกษาควบคู่การตัดสินใจ
แม่เหล็กนีโอ ค่าความแรง ความหนาแน่น 9000-12000 Gauss
แม่เหล็กเฟอร์ไรน์ ค่าความแรง ความหนาแน่น 2000-4000 Gauss
จะเห็นได้ว่าความแรงและความไว นีโอเหนือกว่ามากถ้าเปิดเทียบจะเห็นความต่างชัด แต่ในขณะเดียวกัน การทนความร้อน นีโอทนได้แค่ 280 องศาและจะศูนย์เสียความเป็นแม่เหล็กชั่วคราว ถ้าร้อนกว่านั้นจะสูญเสียความเป็นแม่เหล็กถาวร และไม่สามารถชาร์จเพิ่มได้
ในขณะที่แมเหล็กเฟอร์ไรน์ น้ำหนักมากกว่า ความแรงน้อยกว่าและให้ความไว น้อยกว่านีโอ แต่ก็อยู่ในค่าที่ใช้กันทั่วไป ทนความร้อนได้ถึง 450 องศา และถ้าศูนย์เสียความเป็นแม่เหล็ก หรือแรงน้อยลง สามารถชาร์จเพิ่มได้ค่ะ
ลูกค้าลองดูลักษณะงานของตัวเองนะคะ ว่าควรใช้ตัวใหนค่ะ ^^
ขอบคุณครับแต่ตอนนี้ตัดสินใจแล้วครับสั่งล๊อตแรก 28 ตัวแล้วครับ เฟอร์ไรน์